BLOGER

รวมบทความที่น่าสนใจ

แบบบ้านเดี่ยวสไตล์ญี่ปุ่น มีสวนหย่อมข้างบ้าน สวย น่าอยู่ อบอุ่น ละมุนละไม

แบบบ้านเดี่ยวสไตล์ญี่ปุ่น มีสวนหย่อมข้างบ้าน สวย น่าอยู่ อบอุ่น ละมุนละไม

adminOct 1, 20212 min read

แบบบ้านเดี่ยวสไตล์ญี่ปุ่น มีสวนหย่อมข้างบ้าน สวย น่าอยู่ อบอุ่น ละมุนละไม   แบบบ้านเดี่ยว 2 ชั้น 5 ห้องนอน 4 ห้องน้ำ พื้นที่ใช้สอย 180 ตารางเมตร ตกแต่งสไตล์ญี่ปุ่น บรรยากาศอบอุ่น ละมุนละไม เรียบง่าย และน่าอยู่  มีสวนหย่อมข้างบ้าน ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการตกแต่งที่เรียบง่าย เน้นใช้สีกลาง ๆ และวัสดุธรรมชาติ รวมถึงการออกแบบที่ให้น้ำหนักกับการใช้งาน กลายเป็นเสน่ห์ของบ้านสไตล์ญี่ปุ่น ที่ทำให้หลายคนรู้สึกชื่นชอบ หากกำลังมองหาไอเดียแต่งบ้านแนว ๆ นี้อยู่ ตามมาชมพร้อม ๆ กันกับ งานดีไซน์จาก The hauser แบบบ้านสวย ๆ บรรยากาศอบอุ่น ละมุนละไม สวย สบายตา เหมาะกับการพักผ่อน ลักษณะเป็นบ้านเดี่ยว 2 ชั้น โดดเด่นด้วยประตูรั้วสีขาวแบบโปร่ง ดูโมเดิร์น สามารถมองเห็นภายนอกได้ พร้อมกับรักษาความเป็นส่วนตัว ส่วนด้านข้างมีสวนหย่อมขนานไปกับแนวกำแพง พื้นที่สีเขียวเล็ก ๆ ที่ช่วยเพิ่มความสดชื่นให้กับบรรยากาศได้ไม่น้อย พร้อมที่จอดรถหน้าบ้าน 2 คัน สำหรับทางเข้า-ออกตัวบ้านตกแต่งด้วยประตูไม้บานพับ ให้กลิ่นอายความเป็นญี่ปุ่นตั้งแต่ก้าวแรก ชั้นล่างของบ้านเดี่ยวหลังนี้ประกอบด้วย ห้องนั่งเล่นแบบ Double Space ที่ช่วยให้พื้นที่ดูโปร่ง โล่ง ไม่อึดอัด เชื่อมต่อกับส่วนกินข้าวและ…

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่และเสาเข็มจากการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่และเสาเข็มจากการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)

adminSep 1, 20212 min read

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่จากผลการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)             สำหรับการออกแบบระบบฐานรากในเบื้องต้นโดยประมาณ (preliminary design) : F.S. = 3.0 โดยอาศัยผลการทดสอบที่ได้จากการทดสอบทั้งในสนามและห้องทดลอง สามารถทำได้ดังนี้ ·       สำหรับกรณีของดินเหนียว (F.S. = 2.5 – 3.0) กำลังรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยของดิน (qall) = qu = 2c; ปอนด์ต่อตารางฟุต กำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัย (qult) = 1.25N; T/m2. ·       สำหรับกรณีของดินทราย (F.S. = 2.5 – 3.0) กำลังรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยของดิน (qall)…

หลักการเบื้องต้นในการอ่านผลการเจาะสำรวจดิน

หลักการเบื้องต้นในการอ่านผลการเจาะสำรวจดิน

adminAug 31, 20213 min read

1.     การพิจารณาค่าจากการทดสอบ Atterberg Limits ซึ่งการพิจารณาดังกล่าวสามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจทั้งในขั้นตอนของการออกแบบ และการควบคุมงานก่อสร้างในส่วนของระบบฐานราก เช่นจะใช้เสาเข็มระบบใด (เสาเข็มตอกหรือเสาเข็มเจาะ) ปลอกเหล็กกันดินพังควรจะฝังลึกเท่าไร จะต้องใช้ของเหลวช่วยป้องกันการพังของผนังหลุมเจาะหรือไม่ เหล่านี้เป็นต้น      – หากดินมีค่า water content (v) เข้าใกล้ค่า LL. หรือมีค่ามากกว่า หมายถึงดินที่ระดับความลึกนั้นมีสภาพอ่อน มีกำลังรับแรงเฉือนได้ต่ำแต่จะมีค่าทรุดตัวสูง      – หากดินมีค่า water content (v) เข้าใกล้ค่า PL. หมายถึงดินที่ระดับความลึกนั้นมีสภาพแข็ง มีกำลังรับแรงเฉือนได้สูงแต่จะมีค่าทรุดตัวน้อย      – หากดินมีค่า Plasticity index (P.I. = LL.…